Research assistant position working on artificial photosynthesis

ได้รับบุคคลที่เหมาะสมแล้ว ขอยกเลิกประกาศนี้ครับ

รับสมัครผู้ช่วยวิจัย (Full Time) เพื่อช่วยในโครงการพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาด้วยแสงขนาดนาโนเพื่อการสังเคราะห์แสงเทียม

คุณสมบัติทั่วไป:

-ปริญญาตรี หรือ โท (ทุกเพศ ทุกวัย): สาขา เคมี, วิศวกรรมเคมี, วัสดุศาสตร์, ฟิสิกส์, หรือสาขาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

-สามารถสื่อสาร นำเสนอผลงาน ทำรายงาน (ใช้โปรแกรมพื้นฐาน Word, Excel, PowerPoint ได้)

-ชอบการทดลอง สนุกกับการค้นพบและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ

-มี ambition ต้องการพัฒนาขีดความสามารถของตนเอง และมุ่งหวังผลงานชั้นยอดเสมอ

คุณสมบัติเฉพาะ:

-มีประสบการณ์ในการสังเคราะห์โครงสร้างนาโน

-มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเร่งปฏิกิริยาด้วยแสง (ดูตัวอย่าง scope ของงานเบื้องต้นได้ที่: https://scholar.google.co.th/scholar?hl=en&as_sdt=0%2C5&q=Teera+Butburee&oq=)

-ใช้เครื่องมือวิเคราะห์ทางเคมีพื้นฐาน เช่น GC, HPLC, UV-Vis ได้

-ถ้ามีประสบการณ์ใช้เครื่องมือ characterization ต่าง ๆ เช่น SEM, TEM, XRD, UV-VIS-NIR, Raman, FTIR, DLS, ICP-MS, BET, DSC-TGA จะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ

-มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ที่มี Impact Factor โดยเป็นผู้ประพันธ์หลัก (First author) อย่างน้อย 1 ผลงาน หรือ เป็นผู้ร่วมประพันธ์อย่างน้อย 3 ผลงาน (Co-author) [หรือมีหลักฐานยืนยันว่ามีความสามารถในการร่าง Manuscript ด้วยตนเองได้]

 

โท: เงินเดือน 27,000-30,000 บาท/เดือน

ตรี: เงินเดือน 20,000-23,000 บาท/เดือน

ระยะเวลาโครงการ 3 ปี…….หากผลงานดีมีปั้นกันยาวๆ ทั้งโอกาสในการบรรจุเป็นพนักงานประจำใน สวทช., โอกาสได้รับทุนพัฒนาบุคลากรไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในต่างประเทศ

 

สนใจ: ส่ง CV มาที่ teera.but@nanotec.or.th

โพสต์ที่คุณน่าจะสนใจ

นาโนเซลลูโลส พอลิเมอร์ชีวภาพมากประโยชน์

เซลลูโลส (cellulose) คือ เส้นใยพอลิเมอร์ทางธรรมชาติที่เกิดจากการเชื่อมต่อกันของกลูโคส เป็นวัสดุที่พบได้ในผนังเซลล์ของพืช สาหร่าย และในแบคทีเรียบางประเภท เซลลูโลสเป็นองค์ประกอบสำคัญของชีวมวลกลุ่มลิกโนเซลลูโลส (lignocellulosic biomass)

CCUS เทคโนโลยีกำจัดคาร์บอน สู่ทางรอดของประเทศไทย?

สวัสดีปีใหม่ 2567 ผู้อ่านทุกท่าน ปีเก่าผ่านไปปีใหม่เข้ามาพร้อมกับความท้าทายโจทย์ใหญ่โจทย์เดิม คือ สภาวะโลกร้อน ที่ทำให้เกิดสภาพอากาศแปรปรวน อันส่งผลกระทบต่อชีวิตมนุษย์และระบบนิเวศของโลก สภาวะโลกร้อนนี้มีสาเหตุหลักมาจากกิจกรรมของมนุษย์ที่เพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศ โดยก๊าซเรือนกระจกหลักก็คือคาร์บอนไดออกไซด์

CARBANO เทคโนโลยีผลิตถ่านกัมมันต์ประสิทธิภาพสูงจากวัสดุคาร์บอน

ประเทศไทยขึ้นชื่อว่าเป็นประเทศแห่งอุตสาหกรรมเกษตรและมีวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรที่มากมายหลายหลาก การนำวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์มูลค่าสูงจึงเป็นหนึ่งในแนวคิดสำคัญที่จะช่วยเพิ่มรายได้ให้กับอุตสาหกรรมเกษตรของประเทศไทย หนึ่งในผลิตภัณฑ์มูลค่าสูงที่สามารถผลิตได้จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร คือ ถ่านกัมมันต์ (activated carbon) ซึ่งเป็นถ่านที่มีรูพรุนปริมาณมาก สามารถนำไปใช้ดูดซับและกำจัดสิ่งปนเปื้อนเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่สะอาดเหมาะกับการนำไปใช้อุปโภคและบริโภคในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น

รางวัลโนเบล สาขาเคมี 2023 ผู้ปลูกควอนตัมดอทส์ เมล็ดพันธุ์แห่งวงการนาโนเทคโนโลยี

รางวัลโนเบลสาขาเคมีประจำปี 2023 ได้มอบรางวัลให้กับการค้นพบและการพัฒนาควอนตัมดอทส์(Quantum Dots, QTDs) หรือ “จุดควอนตัม” ซึ่งเป็นอนุภาคที่มีขนาดเล็กมากในระดับ 1-10 นาโนเมตร

หมวดหมู่

โพสต์ยอดนิยม

นาโนเซลลูโลส พอลิเมอร์ชีวภาพมากประโยชน์

เซลลูโลส (cellulose) คือ เส้นใยพอลิเมอร์ทางธรรมชาติที่เกิดจากการเชื่อมต่อกันของกลูโคส เป็นวัสดุที่พบได้ในผนังเซลล์ของพืช สาหร่าย และในแบคทีเรียบางประเภท เซลลูโลสเป็นองค์ประกอบสำคัญของชีวมวลกลุ่มลิกโนเซลลูโลส (lignocellulosic biomass)

Biorefinery series: การผลิตกรดแลคติกจากน้ำตาล ด้วยกระบวนการเชิงเคมีความร้อน

ไบโอรีไฟเนอรี่ (Biorefinery) หรือ อุตสาหกรรมพลังงานและเคมีชีวภาพ คือ อุตสาหกรรมการผลิตแห่งอนาคตที่นำชีวมวล หรือวัตถุดิบที่ได้จากพืช มาใช้เป็นสารตั้งต้น (feedstock) ในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ

โพสต์ล่าสุด

Biorefinery series: น้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพจากน้ำมันปาล์ม

น้ำมันปาล์มเป็นน้ำมันพืชที่ได้จากผลของต้นปาล์มน้ำมันซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่หมุนเวียนได้ น้ำมันปาล์มนั้นสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างหลากหลาย ตั้งแต่นำมาใช้ได้โดยตรงเพื่อการปรุงอาหาร นำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง หรือนำมาใช้เป็นสารตั้งต้นในอุตสาหกรรมโอลีโอเคมี (oleochemical industry) เช่น ผลิตสารหล่อลื่นชีวภาพ (biolubricant)

Biorefinery series: การสังเคราะห์สารเคมีมากมูลค่าจาก HMF (ตอนที่ 2)

จากบทความก่อนหน้านี้ เราได้บอกเล่าความน่าสนใจของสาร 5-ไฮดรอกซีเมทิลเฟอร์ฟูรัล (5-Hydroxymehylfurfural, HMF) และเล่าถึงวิธีการสังเคราะห์ชนิดนี้ไปแล้ว มาบทความในตอนที่ 3 ของ Biorefinery

Biorefinery series: การผลิตกรดแลคติกจากน้ำตาล ด้วยกระบวนการเชิงเคมีความร้อน

ไบโอรีไฟเนอรี่ (Biorefinery) หรือ อุตสาหกรรมพลังงานและเคมีชีวภาพ คือ อุตสาหกรรมการผลิตแห่งอนาคตที่นำชีวมวล หรือวัตถุดิบที่ได้จากพืช มาใช้เป็นสารตั้งต้น (feedstock) ในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ